การเลือกใช้งาน Compression Encoding สำหรับข้อมูลแต่ละคอลัมน์ของ Amazon Redshift

Compression หรือการบีบอัดข้อมูลนั้นเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นในระดับคอลัมน์ (column) เพื่อจะลดขนาดของข้อมูลที่จะถูกเก็บไว้บน storage ซึ่งจะช่วยลดการอ่านข้อมูลจาก disk ลง ผลที่ตามมาอีกคือ ทำให้เรา query ข้อมูลได้เร็วขึ้นนั่นเอง

เปลี่ยน string เป็น datetime ด้วย Python

บทความนี้จะพูดถึงการแปลงค่าวัน เวลา ในรูปแบบ string ไปเป็น datetime ในภาษา Python กัน สำหรับคนที่พึ่งเริ่ม ในภาษา Python มีไลบรารี่ (library) ที่ติดมากับภาษาเลย (standard library หรือ built-in) ชื่อ datetime ที่ใช้จัดการกับวัน เวลาโดยเฉพาะ

วิธีตรวจสอบว่า iPhone 6s สามารถรับการซ่อมฟรีจาก Apple ได้หรือไม่

ข่าวดีสำหรับเพื่อนๆ ที่ใช้ iPhone 6s หรือ iPhone 6s Plus บางเครื่องที่มีปัญหาชิ้นส่วนภายในทำงานผิดพลาด (จริงๆ แล้วไม่มีปัญหาจะดีกว่าเนาะ ^^”) โดยโครงการนี้จะสามารถใช้ได้กับเครื่อง iPhone 6s และ iPhone 6s Plus ที่ผลิตในช่วงเดือนตุลาคม 2018 ถึงเดือนกันสิงหาคม 2019 ในบางเครื่องครับ

iOS 13 กับการตั้งค่าความเป็นส่วนตัว ที่เราควรใส่ใจ

หลังจาก Apple ได้ปล่อย iOS 13 ให้เราได้อัพเดทกันแล้ว สิ่งที่เราควรจะให้ความสนใจเป็นพิเศษหน่อยก็คือ การตั้งค่าความเป็นส่วนตัว (Privacy Settings) กันหน่อย ไม่ใช่ว่าจะปล่อยให้ทำอะไรตามใจไปเลยมันก็คงจะไม่ดีซักเท่าไหร่จริงไหมครับ ^^

Jetpack กับ CDN สำหรับรูปภาพ และ static files (javascript, css) ของ WordPress

สัปดาห์ที่ผ่านมาผมพยายามปรับปรุง imooh.com ให้เร็วขึ้น จะได้ช่วยเพื่อนๆ (ถึงจะน้อยนิดแต่เราก็ใส่ใจนะจ๊ะ) ที่สนใจเข้ามาอ่านบทความไม่ต้องเสียเวลารอเว็บโหลดนานๆ แล้วเริ่มจากตรงไหนดีล่ะ เข้าไปที่ GoogleSpeed Insight ก่อนเลยครับ จะได้รู้ว่าเราต้องปรับปรุงตรงไหนบ้าง เพื่อจะได้ส่งมอบเนื้อหาได้เร็วขึ้น ^^

การส่งรูปภาพจากกล้อง FujiFilm X-A5 ไปยังมือถือผ่านแอพ FUJIFILM Camera Remote

บทความนี้เราจะพูดถึง วิธีส่งรูปภาพจากกล้อง FujiFilm X-A5 ไปยังมือถือและเชื่อมต่อ iPhone ผ่าน Wi-Fi ไปยัง FujiFilm X-A5 ด้วยแอพ FUJIFILM Camera Remote กัน อย่างที่เรารู้ๆ กันอยู่ว่าการทำอะไรครั้งแรกนี่มันติดๆ ขัดๆ ไม่ว่าของเค้าจะทำมาดีแค่ไหนก็ตาม ไม่เว้นแม้แต่เจ้ากล้อง FujiFilm X-A5 ที่พึ่งจะสอยมา อยากจะส่งรูปจากกล้องมาที่มือถือ ทำไมมันช่างยากเย็นเหลือเกิน (ไม่ใช่ว่าของเค้าไม่ดีนะ แต่เราเป็นคนเข้าใจยากเอง TT^TT)

แนะนำหมวดหมู่ (Category suggestion) ด้วย Percolate Query ของ Elasticsearch

บทความนี้เราจะมาลองสร้าง category suggestion ด้วย percolate query ของ Elasticsearch กัน ก่อนอื่นต้องทำความเข้าใจกับ percolate query ก่อนว่ามันทำงานยังไงนะครับ ปกติแล้วเราจะเก็บข้อมูลของสินค้าหรือบทความของเราไว้ที่ Elasticsearch แล้วค้นหาสินค้าหรือบทความนั้นๆ ด้วยการสร้าง query ขึ้นมาจากคำค้นหาที่เราต้องการ

วิธีแก้ปัญหาคอมเม้นท์ของ Facebook Comments Plugin ไม่แสดง เมื่อเปลี่ยนจาก HTTP เป็น HTTPS

สาเหตุที่ต้องเปลี่ยนจาก HTTP เป็น HTTPS ก็เพื่อเพิ่มความมั่นใจและความปลอดภัยให้กับผู้ใช้เว็บไซต์ของเรา รวมถึงเครื่องมือค้นหาหรือ search engine เจ้าใหญ่อย่าง Google ได้ให้ความสำคัญกับเว็บไซต์ที่เป็น HTTPS มากขึ้นในการจัดอันดับผลการค้นหา

การสร้าง Custom Analyzer ของ Elasticsearch

เราได้พูดถึงผลลัพธ์ที่ได้จากการเลือกใช้งาน Elasticsearch Analyzer กันแล้วในบทความที่แล้ว ซึ่งทางทีมพัฒนาของ Elasticsearch ก็ได้สร้าง Analyzer มาให้เราได้เลือกใช้มากมายเลยทีเดียว หรือถ้าเกิด Analyzer ที่เตรียมไว้ให้ยังไม่โดนใจ Elasticsearch ก็ยังมีความยืดหยุ่นมากพอให้เราสามารถสร้าง Analyzer ขึ้นมาใช้เองได้บทความนี้เราจะมาพูดถึงโครงสร้างและวิธีการสร้าง Analyzer ขึ้นมาใช้เองกัน

Elasticsearch เลือก analyzer ผิดชีวิตเปลี่ยนนะจ๊ะ

ในบทความนี้จะมาคุยกันเกี่ยวกับ analyzer ใน Elasticsearch กัน แต่ไม่ขอลงลึกมากนะเดี๋ยวจะไม่สนุกกัน ^^ เจ้า analyzer มีหน้าในการวิเคราะห์ (แหนะเล่นกันตรงๆ เลย) ประโยคหรือกลุ่มคำที่ถูกส่งเข้าไปหามันทั้งตอนที่เรา index ข้อมูลและตอนที่เราค้นหาข้อมูล เพื่อแบ่งให้เป็นคำๆ เช่น “This is a Elasticsearch Book” ก็อาจจะกลายเป็น “elasticsearch, book” ซึ่งจะกลายเป็นคำยังไงบ้างนั้นก็ขึ้นอยู่กับ analyzer แต่ละตัว